Page 42 - การสร้าง Prompt การจัดการเรียนการสอ
P. 42
35
ล าดับ กลุ่มสาระการเรียนรู้ Prompt
6 ศิลปศึกษา 6. 1 Prompt: ฉันเป็นครูสอนวิชา ดนตรี ฉันต้องการให้ช่วยเขียนหลักสูตรวิชา
ดนตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567 ให้สอดคล้อง
กับสาระการเรียนรู้แกนกลางปี 2551 ให้เป็นตารางโดยให้มีคอลัมน์ ล าดับ, ชื่อ
หน่วย, สาระส าคัญ, มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด, เวลา, คะแนน ได้มีเวลารวม
20 ชั่วโมง และคะแนนรวม 50 คะแนน
6.2 Prompt: ขอให้คุณรับบทเป็นครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ช่วยจัด
โครงสร้างหลักสูตรวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เทอม 2 ปี
การศึกษา 2567 ให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางปี 2551 ให้เป็นตาราง
โดยให้มีคอลัมน์ ล าดับ, ชื่อหน่วย, สาระส าคัญ, มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด,
เวลา, คะแนน ให้มีเวลารวม 40 ชั่วโมง และคะแนนรวม 100 คะแนน
6.3 Prompt: ขอให้คุณรับบทเป็นครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ช่วยจัด
โครงสร้างหลักสูตรวิชาวิชาศิลปะการแสดง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เทอม
2 ปีการศึกษา 2567 ให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางปี 2551 ให้เป็นตาราง
โดยให้มีคอลัมน์ ล าดับ, ชื่อหน่วย, สาระส าคัญ, มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด,
เวลา, คะแนน ให้มีเวลารวม 40 ชั่วโมง และคะแนนรวม 100 คะแนน
6.4 Prompt: ช่วยเขียนค าอธิบายรายวิชาหลักสูตรวิชาภาษาไทย ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 เทอม 2 ปีการศึกษา 2567 ให้สอดคล้องตามหลักสูตร
แกนกลางปี 2551 ให้มีรายละเอียดดังนี้ บรรทัดแรกให้เขียน “ค าอธิบาย
รายวิชา” “รายวิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ” “ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557” “เวลาเรียน 40 ชั่วโมง
จ านวน 1 หน่วยกิต” และพร้อมอธิบายเนื้อหาที่เรียนในหลักสูตรนี้ประมาณ
10 บรรทัด พร้อมระบุตัวชี้วัดที่จะใช้ในปีการศึกษานี้
6.5 Prompt: ช่วยฉันเขียนโครงสร้างหลักสูตรศิลปะสร้างสรรค์และการออกแบบ
(Creative Arts and Design) ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 โดยขอ
ข้อมูลเป็นตาราง ซึ่งมีคอลัมน์ ล าดับ, ชื่อหน่วย, สาระส าคัญและมาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
6.6 Prompt: ช่วยออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ ระดับชั้น ม.1
เทอม 2 ปีการศึกษา 2567 ให้ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551 โดยมีเนื้อหาบทเรียนดังต่อไปนี้ บทที่ 1 การสร้างสรรค์งานปั้น และ
สื่อผสม, บทที่ 2 การออกแบบสัญลักษณ์ และงานกราฟิก, บทที่ 3 คุณค่า และ
ความงามของทัศนศิลป์ไทย และทัศนศิลป์สากล